บทความ

Broker มีกี่ประเภท
Share: facebook_share line_share twitter_share messenger_share

Broker มีกี่ประเภท


Broker เป็นชื่อที่หลาย ๆ คน อาจจะรู้จัก และ ไม่รู้จัก วันนี้ เรามาอธิบายว่า Broker มีกี่ประเภท และ สำคัญขนาดไหน

Broker  เป็นคำที่หลาย ๆ คน หรือ นักเทรด หลาย ๆ คนต่างรู้จัก แต่ ยังก็มีอีกหลาย ๆ คน ที่ยังไม่รู้จักว่า Broker คืออะไร มีกี่ประเภท และ มีความสำคัญอย่างไร ก่อนที่เรา จะไปทำความรู้จักกับ Forex Broker นั้นเราต้อง มารู้ก่อนว่า ฟอเร็กซ์ ( Forex ) คืออะไร ฟอเร็กซ์( Forex )  หรือ การเทรด Forex ( Foreign Exchange ) คือ การตลาด ที่เป็น การซื้อ ขาย แลกเปลี่ยนเงินตรา สกุลเงิน โดยราคานั้น จะแปรผันไปตาม Demand และ Supply ของแต่ละสกุลเงิน และ การขึ้นลง ของราคา ก็ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น การเมือง เศรษฐกิจภายในประเทศ เศรษฐกิจโลก ราคาน้ำมัน ภัยพิบัติ อัตราเงินเฟ้อ อัตราเงินฝืด ราคาทองคำ รวมไปถึง การประกาศ ตัวเลขสำคัญ ของแต่ละประเทศ อีกด้วย เช่นอัตราการว่างงาน ทั้งหมดนี้ ต่างก็มี ผลกระทบต่อราคา ขึ้นลงของ Forex ( Foreign Exchange ) ทั้งนั้น ถึงแม้ว่าจะมีความอ่อนไหว ที่มาก แต่ก็ยังมีความมั่นคง ที่ทำให้เรามั่นใจได้ เพราะ ว่า ค่าเงิน ของแต่ละ ประเทศ ไม่มีทางล้มละลาย ได้ง่าย ๆ

Forex Broker คืออะไร

Forex Broker คือ บริษัทที่จะทำหน้าที่ เป็นตัวแทน ของนักลงทุน หรือ เรียกว่า เทรดเดอร์ ( Trader ) ที่จะเป็นตัวกลาง ในการสั่งซื้อ หรือ ขาย ของนักลงทุน เพื่อที่จะนำคำสั่ง ของเรา เข้าสู่ ศูนย์กลางตลาดฟอเร็กซ์ ( Forex ) หรือ สรุปง่าย ๆ คือ Forex Broker นั้น เป็นตัวกลาง ระหว่างนักลงทุน และ ตลาด นั่นเอง  

ในการเทรด ( Trade ) ไม่มี Forex Broker ได้หรือไม่ สามารถทำได้ แต่ในความจริงแล้ว ไม่สามารถทำได้เพราะ นักลงทุนหลาย ๆ คน อาจจะคิดว่า การเทรดฟอเร็กซ์ ( Forex ) นั้นสามารถ ทำได้เอง โดยไม่ต้องผ่านตัวกลาง อย่าง โบรกเกอร์ ( Broker ) ถ้าหาก นักลงทุน จะทำการเทรด ฟอเร็กซ์ ( Forex ) จำเป็นที่จะต้อง ทำผ่าน โบรกเกอร์ ( Broker ) เท่านั้น เพราะ เราไม่สามารถ ทำการซื้อขาย โดยตรงกับตลาดกลางได้นั่นเอง และ การซื้อขาย ผ่าน โบรกเกอร์ ( Broker ) ยังเป็น กฎกติกา ของตลาด ฟอเร็กซ์ ( Forex ) อีกด้วย และ เรายังสามารถ แบ่งประเภทของ Forex Broker ได้ 2 ประเภทดังนี้  

 

ประเภทของ ฟอเร็กซ์โบรกกเกอร์ ( Forex Broker ) สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท หลัก ๆ ดังนี้

 

1. DD หรือ โบรกเกอร์ แบบ Dealing Desk

DD หรือ โบรกเกอร์ แบบ Dealing Desk เป็น โบรกเกอร์ ( Broker ) ที่สามารถดำเนินการ ผ่านเคาน์เตอร์ จัดการโดยการใช้ Market Maker โดยจะเป็น คำสั่งซื้อ ที่เราสั่งไป อจะไปอยู่ในใบมือ โบรกเกอร์ ( Broker ) และ เมื่อมีการทำการซื้อขาย โบรกเกอร์ ( Broker ) จะทำการจับคู่ อีกฝั่งของระบบ โดยที่ โบรกเกอร์ ( Broker ) นั้นจะจับคู่ ด้วยตัวของมันเอง โดยที่เราไม่ต้องยุ่งอะไร ไม่มีคำสั่งไปยังตลาดกลาง และ การใช้บริการ DD หรือ โบรกเกอร์ แบบ Dealing Desk มีข้อดีคือ มีค่าธรรมเนียม จะเป็นแบบ Fixed Spread หรือ แบบตายตัว และ ค่า Commission ก็มีราคาที่ต่ำ หรือ ในบาง โบรกเกอร์ ( Broker ) ก็ไม่มีการคิด ค่าบริการ หรือ บริการ ต่าง ๆ ถูกกว่าปกตินั่นเอง

 

2. NND หรือ โบรกเกอร์ Non Dealing Desk

NND หรือ โบรกเกอร์ Non Dealing Desk คือ โบรกเกอร์ ( Broker ) ที่จะเป็น การสั่งซื้อขาย ไปยังตลาดกลางโดยตรง หรือ ก็คือ ธนาคาร หรือ Liquid Provider โบรกเกอร์ ( Broker ) รูปแบบนี้จะไม่ทำการ เก็บคำสั่งซื้อ หรือ ออร์เดอร์ เอาไว้เอง โบรกเกอร์ ( Broker ) ประเภทนี้ เป็นเหมือนสะพาน ที่จะสามารถ ส่งคำสั่งซื้อขาย ไปยัง ศูนย์กลาง สำหรับ NND หรือ โบรกเกอร์ Non Dealing Desk มีข้อดีคือ สามารถ ซื้อขาย หรือ เทรด ในราคาเดียวกับ ราคาตลาดกลาง คำสั่งซื้อ ก็รวดเร็วกว่า และ ยังมีสภาพคล่องตัว ที่สูง อีกด้วย

 

ทั้งนี้ หาก ๆ เพื่อน ๆ จะทำการเทรด ผ่าน โบรกเกอร์ ( Broker ) ก็เลือกตามความเหมาะสม ของเพื่อน ๆ นะครับ เพราะ โบรกเกอร์ ( Broker ) ทั้งสองอย่าง ดีทั้งคู่

 

อ่านบทความเพิ่มเติม

ศึกษา ให้ดี เทรดอย่างไร ให้รวยได้กำไร

ความแตกต่างของหุ้น กับ Forex




เราเป็นเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลความรู้, ข้อมูล, ข่าวสารในตลาด Forex และต้องเน้นย้ำว่าตลาด Forex มีความเสี่ยงสูง และไม่เหมาะสมกับทุกคน ควรมีการศึกษาข้อมูลให้เข้าใจก่อน นักลงทุนอาจสูญเสียเงินทั้งหมด เพราะการลงทุนมีความเสี่ยงเสมอ

คำเตือนความเสี่ยง การลงทุน และการเก็งกำไรมีความเสี่ยง นักลงทุนและนักเก็งกำไร ควรเรียนรู้เพิ่มเติม และปรึกษาที่ปรึกษาทางการเงิน ก่อนตัดสินใจลงทุนหรือเก็งกำไรใดๆการซื้อขายผลิตภัณฑ์ที่มีเลเวอเรจ เช่น CFD มีความเสี่ยงสูงที่จะขาดทุน และอาจไม่เหมาะสมสำหรับนักลงทุนทุกคน การซื้อขายบนตลาด Forex ดังกล่าวมีความเสี่ยง และคุณอาจสูญเสียเงินลงทุนทั้งหมด เว็บไซต์ www.forex.com จึงขอเป็นผู้ให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ ว่าให้ความรู้ และคำแนะนำที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจ ทั้งบทความ และคลิปความรู้มากมาย